ดร.จุไรรัตน์ จุลจักรวัฒน์



ดร.จุไรรัตน์ จุลจักรวัฒน์
นโยบายสาธารณะ Public Policy
คำอธิบายรายวิชา ...

               ศึกษาความหมาย ลักษณะ ประเภท วิวัฒนาการของการศึกษา
นโยบายสาธารณะ ปัญหาเชิงนโยบายสาธารณะ กระบวนการนโยบาย
สาธารณะ ปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับ การกำหนด นโยบายสาธารณะ
ตลอดจนองค์กรที่เกี่ยวข้อง ในการกำหนดนโยบายสาธารณะ


ไฟล์ประกอบการสอน
คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดาวน์โหลด           
           บทที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย
           บทที่ 2 วิวัฒนาการและขอบข่ายการกำหนดนโยบาย
           บทที่ 3 กระบวนการนโยบายสาธารณะ
           บทที่ 4 การกำหนดนโยบาย
           บทที่ 5 การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
           บทที่ 6 การประเมินผลนโยบาย


 
นโยบายสาธารณะและการวางแผน Public Policy and Planning
คำอธิบายรายวิชา ...


                 หลักการนโยบายสาธารณะและการวางแผน ขั้นตอน กระบวนการ นโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
นโยบายการพัฒนาทางสังคม นโยบายการพัฒนาทางการเมือง และนโยบายท้องถิ่น


ไฟล์ประกอบการสอน
คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดาวน์โหลด
          บทที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
          บทที่ 2 บริบทของนโยบายสาธารณะ
          บทที่ 3 ตัวแบบเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
          บทที่ 4 การก่อตัวของประเด็นปัญหา
          บทที่ 5 การกลั่นกรองประเด็นปัญหา
          บทที่ 6 การนิยามประเด็นปัญหา
          บทที่ 7 การพยากรณ์
          บทที่ 8 การกำหนดวัตถุประสงค์
          บทที่ 9 การวิเคราะห์ทางเลือก
          บทที่ 10 การนำนโยบายไปปฏิบัติ
          บทที่ 11 การประเมินผลนโยบาย
          บทที่ 12 การสืบต่อและการยุตินโยบาย

ธรรมาภิบาลและจิตสำนึกสาธารณะ (Good Governance and Public Consciousness)
คำอธิบายรายวิชา ...

                แนวคิดหลักธรรมาภิบาลและจิตสำนึกสาธารณะ โดยเน้นความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน และสังคม การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลสำหรับการบริหารงานภาครัฐและเอกชน ให้รับรู้ถึงปัญหาการขาดจิตสำนึก และจริยธรรมของประชาชนและผู้บริหาร

ไฟล์ประกอบการสอน คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดาวน์โหลด
          บทที่1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาล
          บทที่2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึกสาธารณะ
          บทที่ 3 ความสำคัญของธรรมาภิบาลและจิตสำนึกสาธารณะ
          บทที่ 4 ธรรมาภิบาลและจิตสำนึกสาธารณะของตนเอง ชุมชน สังคม
          บทที่ 5 การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลสำหรับการบริหารงานภาครัฐและภาคเอกชน
          บทที่ 6 การมีส่วนร่วมบริหารงานภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาล
          บทที่ 7 การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามกรอบยุทธศาสตร์

ภาวะผู้นำสำหรับนักบริหาร (Leadership for Public Administrator)
คำอธิบายรายวิชา ...

                ความหมายและความสำคัญของผู้นำ แบบของผู้นำ บทบาทหน้าที่ของผู้นำ คุณลักษณะของผู้นำที่ดี การเสริมสร้าง
ภาวะผู้นำ จิตวิทยาผู้นำ ผู้นำกับการตัดสินใจ ฝึกทักษะผู้นำ

ไฟล์ประกอบการสอน คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดาวน์โหลด
          บทที่1 ความหมายและความสำคัญของผู้นำ
          บทที่2 แบบของผู้นำ
          บทที่ 3 บทบาทหน้าที่ของผู้นำ
          บทที่ 4 คุณลักษณะของผู้นำที่ดี
          บทที่ 5 การเสริมสร้างภาวะผู้นำ
          บทที่ 6 จิตวิทยาผู้นำ
          บทที่ 7 ภาวะผู้นำการตัดสินใจ
          บทที่ 8 การฝึกทักษะผู้นำ


รัฐประศาสนศาสตร์แนวมนุษยวิทยา สังคมวิทยา และจิตวิทยา Anthropological, Sociological
and Psychological Public Administration
คำอธิบายรายวิชา ...


                ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์และพฤติกรรมองค์การ โดยใช้หลักการศึกษาจากกรอบของแนวทฤษฎี
และขอบข่าย ทางด้าน รัฐประศาสนศาสตร์ และใช้บริบทจากการศึกษาจากตัวแปรทางด้านมนุษยวิทยา
สังคมวิทยา และจิตวิทยาเพื่อสามารถอธิบาย บรรยาย และวิเคราะห์แนวโน้มปรากฏการณ์ ทางการบริหาร
 
ไฟล์ประกอบการสอน
คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดาวน์โหลด
          นักคิดและนักทฤษฎี
          รัฐประศาสนศาสตร์แนวมนุษยวิทยา สังคมวิทยา และจิตวิทยา
              

รัฐประศาสนศาสตร์ Public Administration
คำอธิบายรายวิชา ...


                 แนวคิดทฤษฎี และพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารกับสภาพแวดล้อม
การบริหารกับนโยบายสาธารณะ กระบวนการบริหาร เช่น การวางแผน การจัดองค์การ การบริหารงานบุคคล
การอำนวยการ การประสานงาน การรายงาน การงบประมาณ และพฤติกรรมทางการบริหาร ตลอดจน
ความรับผิดชอบของการบริหารราชการ


ไฟล์ประกอบการสอน
คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดาวน์โหลด
      
  บทที่ 1 ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับวิชารัฐประศาสนศาสตร์
          บทที่ 2 การเมืองและการบริหาร
          บทที่ 3 แนวคิดการจัดองค์การแบบราชการ
          บทที่ 4 ระบบราชการไทย รัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน
          บทที่ 5 องค์การและการบริหารจัดการ
          บทที่ 6 ทฤษฎีองค์การว่าด้วยการบริหารจัดการ
          บทที่ 7 ทฤษฎีองค์การด้านมนุษย์สัมพันธ์และพฤติกรรมองค์การ
          บทที่ 8 รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่
          บทที่ 9 รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบและการบริหารการพัฒนา
          บทที่ 10 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
          บทที่ 11 ทางเลือกสาธารณะ